ศักยภาพด้านความปลอดภัยที่ หลอมรวม ปกป้องได้ครอบคลุม ทำงานแบบอัตโนมัติ
โดยนายลิเออร์ โคเฮน ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายผลิตภัณฑ์ และโซลูชั่น ระบบความปลอดภัยสำหรับคลาวด์ ฟอร์ติเน็ต
องค์กรในยุคปัจจุบันต่างมองหาวิ ธีการใหม่ๆ มาใช้ในการประมวลผล จัดเก็บและกระจายข้อมูลด้านธุ รกิจของตน หลายๆ องค์กรเห็นว่าการใช้บริ การบนคลาวด์นั้นง่ายดายกว่ าการจัดหาชุดฮาร์ดแวร์เพื่ อมาทำงานเฉพาะด้านเหล่านี้ ทั้งนี้ การปรับใช้ระบบคลาวด์ แบบกระจายศูนย์ (Decentralized) ยังจะช่วยให้หน่วยงานต่างๆ สามารถจัดหาซอฟต์แวร์คลาวด์ใหม่ ๆ หรือทรัพยากรไอทีหรือใช้แอพพลิ เคชั่นใหม่ๆ ได้ตามต้องการ โดยไม่ต้องพึ่งพาฝ่ายไอทีมากนัก จึงนำไปสู่การที่องค์กรใช้งานผู้ ให้บริการคลาวด์ที่ หลากหลายในองค์กรเดียว
แม้การใช้งานแพลตฟอร์มที่แตกต่ างกันจะให้ประโยชน์ด้านความยื ดหยุ่นของธุรกิจก็ตาม แต่องค์กรเองยังตกอยู่ในความเสี่ ยงอยู่ นับตั้งแต่องค์กรมี ความยากในการบริหารทรัพยากรที่ กระจายตัวนี้ รวมถึงความเสี่ยงของ Shadow IT (อันหมายถึง แหล่งข้อมูลออนไลน์ที่เก็บข้อมู ลองค์กร แต่อุปกรณ์ไอทีไม่ได้ตระหนักถึ งและมองข้ามไป) ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาการละเมิ ดกฎหมายที่เกี่ยวกับข้อมูลส่ วนตัวได้ นอกจากนี้ โครงสร้างพื้นฐานของระบบคลาวด์ ส่วนบุคคลและแอปพลิเคชันแบบใช้ ครั้งเดียวจะเพิ่มความเสี่ยงต่ อการที่องค์กรอาจถูกโจมตี ทางไซเบอร์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อทั้งองค์ กรได้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เมื่อองค์กรใช้แพลตฟอร์ มหลายแพลตฟอร์ม มักจะมีโอกาสที่จะเกิดการละเมิ ดที่ร้ายแรง มากกว่าการใช้แพลตฟอร์มเดียวทั่ วทั้งเครือข่าย
นายลิเออร์ โคเฮน ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายผลิตภัณฑ์ และโซลูชั่น ระบบความปลอดภัยสำหรับคลาวด์ ของฟอร์ติเน็ต (Fortinet®; NASDAQ: FTNT) ผู้นำระดับโลกด้านโซลูชั่นการรั กษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ แบบครบวงจรและอัตโนมัติได้ แนะนำว่าองค์กรต่างๆ ควรมีเสาหลัก 3 ต้น เพื่อเป็นพื้นฐานในสร้างการใช้ งานบนคลาวด์ขององค์กรได้อย่ างปลอดภัย ดังนี้:
1. Unified Set of Security Capabilities: ใช้ศักยภาพด้านความปลอดภัยที่ หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวอย่างต่ อเนื่องทุกแพลตฟอร์มคลาวด์ที่ องค์กรใช้ จึงจะเกิดกรอบความปลอดภั ยแบบองค์รวมเดียว
2. Broad Protection: การผสานรวมโซลูชันการรั กษาความปลอดภัยแต่ละชิ้นให้เข้ ากับแต่ละแพลตฟอร์มด้านคลาวด์ เพื่อความยืดหยุ่นสูงสุ ดและการทำงานที่สอดคล้องกัน ได้อย่างครอบคลุมกว้างไกลในแต่ ละสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
3. Automated Management: ใช้ระบบการจัดการและทำงานแบบอั ตโนมัติในเลเยอร์เดียวกัน ครอบคลุมเครือข่ายแบบกระจายองค์ กรได้ทั้งหมด จึงจะทำให้มั่นใจได้ว่ าสามารถปรับบังคับนโยบายด้ านความปลอดภัยได้ทั่วทั้ งระบบคลาวด์ที่มีการกระจายและมี ความหลากหลายนั้นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ภัยคุกคามมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่ องตลอดเวลา ส่งผลให้องค์กรต้องการทูลส์ที่ ออกแบบมาเฉพาะเพื่อ จัดการกับความเสี่ยงได้ทุ กประเภทในทุกสภาพเครือข่าย อันรวมถึงคลาวด์ด้วยเช่นกัน และเพื่อที่จะใช้ประโยชน์ จากสภาพแวดล้อมแตกต่างเหล่านี้ อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ทีมไอทีจะต้องมั่นใจว่ามีระดั บความปลอดภัยครอบคลุมทั่วทุ กแพลตฟอร์มคลาวด์ มิฉะนั้นแล้ว สภาพแวดล้อมเครือข่ายธุรกิจที่ สำคัญทั้งหมดกลับจะเป็นจุ ดเปราะบางที่สุดในระบบได้ ทั้งนี้ ในการสร้างระดับความปลอดภั ยไซเบอร์ของระบบคลาวด์ที่มี ประสิทธิภาพนี้ องค์กรจะต้องสร้างมาตรฐานของศั กยภาพในการมองเห็นและการควมคุ มกลไกอันจะช่วยให้เกิดประสิทธิ ภาพและความคล่องตัวในการดำเนิ นงานให้ได้ทั่วทั้งเครือข่ายเสี ยก่อน
โคเฮนจึงได้แบ่งกลยุทธ์ ความปลอดภัยบนคลาวด์ออกเป็น 7 ด้านด้วยกัน พร้อมแนะนำวิธีเอาชนะอุปสรรค์ต่ างๆ ดังต่อไปนี้
1. Inside-Out IaaS Security (กำหนดนโยบายความปลอดภั ยจากภายในสู่ภายนอก):
ประโยชน์ของการใช้ Infrastructure-as-a-Service คือ การใช้ทรัพยากรได้เต็มรูปแบบ อันรวมถึงฮาร์ดแวร์ อุปกรณ์เครือข่าย และทูลส์ในการเชื่อมต่อต่างๆ ที่ล้วนสามารถเข้าถึงและจั ดการได้จากคลาวด์ ในขณะที่ผู้ให้บริการคลาวด์เป็ นผู้จัดหาและดูแลส่ วนประกอบของโครงสร้างพื้ นฐานแบบนี้ แต่องค์กรยังต้องพิจารณาถึ งความจำเป็นในการปกป้องทรัพย์สิ นคลาวด์ของตนเองอีกด้วย โคเฮนอธิบายว่าลูกค้ าจำนวนมากใช้วิธีกำหนดนโยบายด้ านความปลอดภัยที่สอดคล้องกั นและนำไปใช้กับผู้ให้บริการ IaaS ซึ่งเป็ นการกำหนดนโยบายจากภายในองค์ กรสู่ภายนอก เพื่อให้สามารถจัดการด้ านความปลอดภัยได้ที่ระดับเวิร์ กโหลด ระดับเครือข่ายและระดับ API
2. Cloud Services Hub (ฮับให้บริการคลาวด์):
องค์กรใหญ่มักขาดกระบวนจั ดการความปลอดภัยจากส่วนกลาง ในขณะที่ใช้งานโซลูชั่นคลาวด์ที่ แตกต่างกันหลายประเภท ซึ่งส่งผลทำให้องค์กรมี การมองเห็นและการควบคุ มภายในเครือข่ายน้อยลง รวมถึง ไม่สามารถตอบสนองต่อภัยคุ กคามได้ทันท่วงที อย่างไรก็ตาม หากองค์กรใช้ฮับศูนย์ที่ให้บริ การคลาวด์ ทีมไอทีจะสามารถใช้ประโยชน์ จากความเป็นคลาวด์ได้มากขึ้น เช่น มีความยืดหยุ่น ความพร้อมใช้งานตลอดเวลา และสามารถปรับขนาดได้ ในขณะที่มีศักยภาพด้ านความปลอดภัยที่สอดคล้องกั นในทุกแพลตฟอร์ม นอกจากนี้ ฮับนี้ได้รวมความสามารถด้ านความปลอดภัยไว้ในที่เดียวอย่ างเรียบร้อย จึงทำให้ง่ายต่อการเชื่อมต่ อเครือข่าย VPC ที่แตกต่างกันโดยใช้การเชื่อมต่ อวีพีเอ็นอันปลอดภัย
3. Remote Access VPN (การใช้วีพีเอ็น):
องค์กรมักนิยมใช้วีพีเอ็ นในการเข้าถึงข้อมูลจากที่ใดก็ ได้ในโลกนี้ไปยังคลาวด์ แต่การเข้าถึงระยะไกลโดยใช้วีพี เอ็นแบบดั้งเดิมนั้นไม่ สามารถตอบสนองความต้องการเหล่ านี้ได้เสมอไป หากองค์กรปรับใช้โซลูชันที่ ออกแบบมาเพื่อเปิดใช้งานการเข้ าถึงระยะไกลที่ปลอดภั ยในระบบคลาวด์แล้ว จะทำให้มีความปลอดภัยสูงสุด ซึ่งรวมถึงการปรับระดับการเข้ ารหัสแบบไดนามิกอันคล่องตัวได้ ตามต้องการ อาทิ ตามตำแหน่งที่ตั้งของอุปกรณ์ ตามประเภทของผู้ใช้งานปลายทาง หรือตามอุปกรณ์ไอโอทีและตามข้ อมูลที่เข้าใช้งานเป็นต้น องค์กรจึงจะสามารถยกระดั บโครงสร้างพื้นฐานบนคลาวด์ ของตนที่ใช้งานทั่วโลกให้อยู่ ในระดับสูงและมีประสิทธิ ภาพมากยิ่งขึ้นได้
4. Hybrid Cloud (ไฮบริดคลาวด์):
การใช้ระบบคลาวด์สาธารณะมาเป็ นโครงสร้างพื้นฐานเสริมสำหรับศู นย์ข้อมูลในองค์กรมักจะช่วยให้ องค์กรสามารถพัฒนาวิธีการใหม่ๆ ในการให้บริการไอทีทั่วทั้งองค์ กรได้ แต่สภาพแวดล้อมไฮบริดคลาวด์ เหล่านี้อาจนำมาซึ่งความเสี่ ยงต่างๆ ได้เช่นกัน อาทิ การมองเห็นเครือข่ายที่ยังไม่ดี และการจัดการความปลอดภัยที่ยั งซับซ้อน ทั้งนี้ ในการสร้างความปลอดภั ยระบบคลาวด์แบบไฮบริดนี้ องค์กรจำเป็นต้องปรับใช้ นโยบายความปลอดภัยที่ครอบคลุ มในโครงสร้างทั้งหมด เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลได้รั บการปกป้องในขณะที่ถูกถ่ ายโอนไปยังและจากระบบคลาวด์
5. Advanced Application Protection (การป้องกันแอปพลิเคชันขั้นสูง) :
การใช้แอพพลิเคชั่นใหม่บนคลาวด์ ไม่เพียงแต่สร้างความเสี่ยงเพิ่ มขึ้นท่านั้น แต่ยังเป็นการบังคับให้องค์กรต่ างๆ ตระหนักถึ งความสามารถในการทำตามข้ อกำหนดต่างๆ (Compliance) อย่างต่อเนื่องอีกด้วย ดังนั้น องค์กรจึงควรใช้แอพพลิเคชั่นด้ านความปลอดภัยที่ผ่ านการทดสอบมาแล้วและนำไปใช้กั บระบบคลาวด์ นอกจากนี้ ก่อนที่จะย้ายไปสู่คลาวด์ องค์กรควรพิจารณาโซลูชันที่มีศั กยภาพป้องกันส่วน APIs ของเว็บแอปพลิเคชัน เป็นโซลูชั่นมีคุณสมบัติบังคั บใช้นโยบายความปลอดภัยได้ และตรวจจับมัลแวร์ประเภทต่างๆ ทั้งเก่าและใหม่ได้ในตัว
6. Security Management from the Cloud (การจัดการความปลอดภัยจากคลาวด์ ):
องค์กรที่ใช้ทูลส์แบบดั้งเดิ มจะประสบปัญหาที่ระบบไม่ สามารถใช้งานร่วมกันได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อต้องการปรับใช้และจัดการทู ลส์จากคลาวด์ องค์กรจึงควรใช้ผู้ให้บริ การคลาวด์ระดับโลกให้บริการด้ านความปลอดภัยครอบคลุมทั่วทุ กกลุ่มคลาวด์ต่างๆ ที่ครบถ้วน จึงจะช่วยให้มั่นใจได้ว่าองค์ กรจะยังสามารถปรับขนาดของบริการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนิ นงาน ลดต้นทุนและลดความเสี่ยงได้
7. Public Cloud Usage Monitoring and Control (การตรวจสอบและควบคุมการใช้ งานคลาวด์สาธารณะ):
ในปัจจุบัน การใช้งานคลาวด์สาธารณะได้รั บการยอมรับอย่างกว้างขวางทั่ วโลก แต่ยังมีปัญหาเรื่องการกำหนดค่ าการใช้งานที่ผิดพลาด (Misconfiguration) ที่ยังคงเป็นสาเหตุหลักทำให้ ระบบหยุดชะงักและเกิดความเสี ยหายที่ไม่คาดคิด ดังนั้น องค์กรจจึงควรมีศั กยภาพในการมองเห็นการเปลี่ ยนแปลงของค่าที่กำหนดต่างๆ บนโครงสร้างพื้นฐานคลาวด์ สาธารณะที่หลากหลายได้ โดยมองผ่านแพลตฟอร์มกลางที่ให้ รายงานที่เกี่ยวกับการละเมิ ดกฎระเบียบที่องค์ กรสามารถนำไปใช้ง่ายมากขึ้น
การปรับใช้คลาวด์กำลังได้รั บความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง จากประโยชน์ด้านความยืดหยุ่น ความคล่องตัวในการปรั บขนาดและความพร้อมใช้งาน อย่างไรก็ตาม องค์กรจำเป็นต้องตระหนักถึ งความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้ นจากการปรับใช้คลาวด์ที่แตกต่ างกันด้วยเช่นกัน แต่หากเมื่อองค์กรมีความเข้ าใจในความท้าทายที่มากับคลาวด์ แล้ว องค์กรจะสามารถจัดการและใช้ ประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้างพื้ นฐานเหล่านี้ได้อย่างเหมาะสม
ทั้งนี้ มีตัวอย่างการใช้งานจริงที่สตี ลเคส อิงค์ (Steelcase, Inc.) ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ สำนักงานระดับโลกในรัฐมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต้แบรนด์ Steelcase, Turnstone และ Coalesse สตีลเคสขายสินค้าผ่านเครือข่ ายตัวแทนจำหน่ายอิสระ บริษัทดีลเลอร์ในการจัดจำหน่าย และขายโดยตรงให้กับลูกค้าที่ต้ องการ ไม่นานมานี้ สตีลเคสใช้แพลตฟอร์ม Microsoft Azure เป็นโครงสร้างพื้นฐานสำหรั บระบบเว็บแอปพริเคชั่นในการติ ดต่อกับลูกค้า เพื่อประสิทธิภาพมากขึ้น สตีลเคสติดตั้งอุปกรณ์จากฟอร์ติ เน็ตครบถ้วน รวมถึงไฟร์วอลล์ FortiGate Next Generation Firewall และอุปกรณ์ FortiMail secure email gateway ทำหน้าที่เป็นเกทเวย์ และใช้วีพีเอ็นที่สร้างขึ้นอย่ างปลอดภัยระหว่าง FortiGate และ FortiGate-VM ไปยัง Microsoft Azure และอื่นๆ อีกมากมาย
นายสจ็วต เบอร์แมน สถาปนิกด้านความปลอดภัยบนคลาวด์ ระดับโลก แห่งสตีลเคส กล่าวว่า “กลยุทธ์ของเราคือ การใช้ฟอร์ติเน็ตปิดช่องว่ างระหว่างการทำงานของ Microsoft และ Amazon เช่น ใช้เก็บข้อมูล Log ที่ยังขาดอยู่ การวิเคราะห์ทราฟฟิคขาออก การทำเป็นไฟร์วอลล์สำหรับทราฟฟิ คขาเข้า และอื่นๆ ดังนั้น การใช้ฟอร์ติเน็ตรายเดี ยวในการจัดการทั้งแพลทฟอร์ม Microsoft และ Amazon จึงถือว่าคุ้มค่ามาก ให้การป้องกันอย่างราบรื่นที่ เราต้องการบนแพลทฟอร์มที่แตกต่ างกันทั้งสองแพลทฟอร์ม”
เกี่ยวกับฟอร์ติเน็ต
ฟอร์ติเน็ต (NASDAQ: FTNT) ปกป้ององค์กร ผู้ให้บริการ และหน่วยงานรัฐบาล ขนาดใหญ่ทั่วโลกให้พ้นจากภั ยไซเบอร์ ฟอร์ติเน็ตช่วยให้ลูกค้ าสามารถมีข้อมูลเชิงลึกในภัยคุ กคาม และสร้างการป้องกันที่ ชาญฉลาดให้ธุรกิจลูกค้าดำเนิ นไปอย่างราบรื่น เพื่อตอบสนองความต้องการด้ านประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้ นตลอดเวลาต่อเครือข่ายไร้ พรมแดนในวันนี้และในอนาคต ทั้งนี้ เครือข่ายด้านความปลอดภัยซีเคี ยวริตี้แฟบลิคอันเป็นสถาปั ตยกรรมใหม่จากฟอร์ติเน็ตเท่านั้ นที่สามารถมอบคุณสมบัติด้ านความปลอดภัยโดยจะไม่ยอมแพ้แก่ ภัยที่เข้ามา ไม่ว่าจะเป็นในเครือข่าย แอปพลิเคชั่น คลาวด์ โมบาย หรือไอโอที ฟอร์ติเน็ตดำรงตำแหน่งเป็น #1 ในการจัดส่งอุปกรณ์ด้ านความปลอดภัยสู่ตลาดโลกมากที่ สุด และมีลูกค้ามากกว่า 400,000 รายทั่วโลกไว้วางใจฟอร์ติเน็ ตให้ปกป้องธุรกิจของตน รู้จักฟอร์ติเน็ตเพิ่มเติมได้ที่ www.fortinet.com และ The Fortinet Blog หรือ FortiGuard Labs
Continue Reading